ผังความคิด (WEB) เชื่อมโยงหน่วย “เราคือใคร”กับเป้าหมายกลุ่มสาระวิชา
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
คำถามหลัก(Big Question) : เราคือใคร และสัมพันธ์กับสิ่งอื่นอย่างไร ?
ภูมิหลังของปัญหา : ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ทันสมัย
เกิดค่านิยม และวัฒนธรรมใหม่ๆ ส่งผลถึงวิถีชีวิตการเป็นอยู่ การกิน การแต่งกาย ภาษา
จนเสมือนว่าเราถูกครอบงำและไปตามกระแส นอกจากนั้นครอบครัวยังบ่มเพาะด้วยกรอบความคิดแบบเดิม
เช่น เรียนเก่งๆจะได้เป็นเจ้าคนนายคน จนหลงลืมความสำคัญของคนรอบข้างทำให้เด็กยึดติดตัวตนที่สร้างขึ้น
ร่วมทั้งการที่นักเรียนถูกเลี้ยงดูให้เป็นผู้ถูกรักจนชิน ลืมความเป็นตัวเองที่มีความสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆรอบตัว
ดังนั้นนักเรียนจึงมีความจำเป็นในการเรียนรู้ที่จะเข้าใจ และเห็นคุณค่าของตนเอง
ตลอดจนสามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีเป้าหมายมากขึ้นเพื่อเป็นผู้รัก
เป้าหมายของความเข้าใจ(Understanding
Goal):
เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ตลอดจนสามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีเป้าหมาย
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย :เราคือใคร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
Quarter 1 ภาคเรียนที่ 1/2559
สาระ
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
1. สร้างฉันทะ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- เลือกหัวข้อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้รายสัปดาห์
- Mind Mapping ก่อนเรียน
|
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็น
หรือเรื่อง สถานการณ์ที่จะศึกษา รวมทั้งปัญหาที่อยากแก้ไขตามความสนใจได้
(ว 8.1 ป.4/1)
- สามารถออกแบบและวางแผนการเรียนรู้
การศึกษาค้นคว้าเสนอวิธีสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการศึกษาค้นคว้าได้
(ว 8.1 ป.4/2)
- สร้างคำถามใหม่จากสิ่งที่อยากเรียนรู้และประเด็นปัญหาที่อยากแก้ไขได้
(ว 8.1 ป.4/5) - เข้าใจและสามารถอธิบายแสดงความคิดเห็นนำเสนอและให้เหตุผลเกี่ยวกับเรื่องหรือหัวข้อที่ตน เองสนใจได้ (ว 8.1 ป.4/5)
-
นำเสนอผลงานการเขียนสรุปปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้และปฏิทินให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (ว
8.1 ป.4/8)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีระหว่างการร่วมกิจกรรมได้ (ส 2.1 ป.4/2)
- สามารถนำเสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขระหว่างการเรียน
การทำกิจกรรมและใช้ในชีวิตประจำวันได้
(ส 2.1 ป.4/5)
|
มาตรฐาน ส 4.1
- เข้าใจและสามารถนับช่วง
เวลาเป็นศตวรรษและสหัสวรรษและสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ (ส 4.1 ป.4/1)
-
เข้าใจและสามารถอธิบายยุคสมัยในการศึกษาประวัติความเป็นมาของมนุษย์กับปัจจัยขั้นพื้นฐานในการดำรงชีวิตได้
(ส 4.1 ป.4/2) |
มาตรฐาน ง 1.1
- เข้าใจทักษะในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนและอธิบายเหตุผลในการทำงานได้
(ง 1.1 ป.4/1-2)
- สามารถปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(ง 1.1 ป.4/3)
- อธิบายการใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
(ง 1.1 ป.4/4)
|
มาตรฐาน พ 2.1
สามารถแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพื่อนทั้งชายและหญิงขณะทำกิจกรรมและเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม
(พ 2.1 ป.4/2)
มาตรฐาน พ 4.1
เข้าใจและสามารถอธิบายสภาวะอารมณ์ของคนที่อยู่ในยุคสมัยต่างๆที่มีผลต่อการดำรงชีวิตได้
(พ 4.1 ป.4/5) |
มาตรฐาน ศ 1.1
-
สามารถสร้างสรรค์ชิ้นงานและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของสีวรรณะอุ่นและ
สีวรรณะเย็นที่มีผลต่ออารมณ์ของมนุษย์ผ่านการวาดตกแต่งผลงานได้
(ศ 1.1 ป.4/2/3)
-
เข้าใจทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างสรรค์ งานวาดภาพระบายสีได้
(ศ 1.1 ป.4/5)
|
จุดเน้นที่ 3
-
มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1 ป.4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3.2 ป.4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4.1 ป.4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5.1 ป.4/10)
|
สาระ
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
2. กว่าจะมาเป็นฉัน
ครอบครัว |
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องที่จะศึกษาได้ (ว 8.1 ป.4/1) - ออกแบบและวางแผนเพื่อสำรวจหรือสืบค้นข้อมูลจากเรื่องที่จะศึกษาได้ (ว 8.1 ป.4/2) - สามารถเลือกอุปกรณ์เพื่อใช้ในการสำรวจหรือสืบค้นเรื่องที่จะศึกษาได้ (ว 8.1 ป.4/3) - สามารถบันทึกข้อมูล นำเสนอผล และสรุปผลได้ (ว 8.1 ป.4/4) - สามารถแสดงความคิดเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ได้ (ว 8.1 ป.4/6) |
มาตรฐาน ส 1.1
- เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างที่ดีในการดำรงชีวิตได้ (ส 1.1 ป.4/3) - ชื่นชมการทำความดีของตนเองและผู้อื่น (ส 1.1 ป.4/5) มาตรฐาน ส 3.1 อธิบายหลักการของเศรษฐกิจในครัวเรือนของตนเองได้ (ส 3.1 ป.4/3) มาตรฐาน ส 5.1 สามารถสร้างแผนที่จากบ้านของตนเองมายังโรงเรียนได้ (ส 5.1 ป.4/1) |
มาตรฐาน ส 4.1
สามารถอธิบายช่วงเวลาการเกิดของสมาชิกในครอบครัวได้ (ส 4.1 ป.4/1) |
มาตรฐาน ง 1.1
- ทำงานบรรลุ
เป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอน ด้วยความขยัน อดทนรับผิดชอบและซื่อสัตย์
(ง 1.1 ป.4/2)
- ใช้พลังงานและทรัพยากร
ในการทำงาน
อย่างประหยัด
และคุ้มค่า
(ง 1.1 ป.4/4)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงาน
อย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง 1.1 ป.5/2)
- ใช้ทักษะ
การจัดการในการทำงานและทักษะการทำงานร่วมกัน
(ง 1.1 ป.6/2)
|
มาตรฐาน พ 2.1
แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพื่อนทั้งชายและหญิงขณะทำกิจกรรมและเรียนรู้อย่างเหมาะสม (พ 2.1 ป.4/2) มาตรฐาน พ 4.1 เข้าใจและสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพได้ (พ 4.1 ป.4/1) |
มาตรฐาน ศ 1.1
- อภิปรายเกี่ยวกับ
อิทธิพลของสีวรรณะอุ่น และสีวรรณะเย็นที่มีต่ออารมณ์ของมนุษย์และสิ่งมีชีวิต (ศ 1.1 ป.4/2)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสี
(ศ 1.1 ป.4/5)
- วาดภาพระบายสี
โดยใช้สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น
ถ่ายทอดความรู้สึกและจินตนาการ
(ศ 1.1 ป.4/7) |
จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง
กติกาของห้องเรียน (3.1 ป.4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3.2 ป.4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4.1 ป.4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5.1 ป.4/10)
|
สาระ
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
3. กว่าจะมาเป็นฉัน
- สภาพแวดล้อม - ความเชื่อ/ศาสนา - วิถีชีวิต |
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องที่จะศึกษาได้ (ว 8.1 ป.4/1) - ออกแบบและวางแผนเพื่อสำรวจหรือสืบค้นข้อมูลจากเรื่องที่จะศึกษาได้ (ว 8.1 ป.4/2) - สามารถเลือกอุปกรณ์เพื่อใช้ในการสำรวจหรือสืบค้นเรื่องที่จะศึกษาได้ (ว 8.1 ป.4/3) - สามารถบันทึกข้อมูล นำเสนอผล และสรุปผลได้ (ว 8.1 ป.4/4) - สามารถแสดงความคิดเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ได้ (ว 8.1 ป.4/6) |
มาตรฐาน ส 1.1
- เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างที่ดีในการดำรงชีวิตได้ (ส 1.1 ป.4/3) - ชื่นชมการทำความดีของตนเองและผู้อื่น (ส 1.1 ป.4/5) มาตรฐาน ส 3.1 อธิบายหลักการของเศรษฐกิจในชุมชนของตนเองได้ (ส 3.1 ป.4/3) มาตรฐาน ส 5.1 สามารถสร้างแผนที่ในการอธิบายลักษณะทางกายภาพของชุมชนที่ตนเองอาศัยได้ (ส 5.1 ป.4/1) มาตรฐาน ส 5.2 อธิบายสภาพแวด ล้อมทางกายภาพของชุมชนที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตได้ (ส 5.2 ป.4/1) |
มาตรฐาน ส 4.1
สามารถแยกแยะประเภทหลักฐานที่ใช้ในการศึกษาความเป็นมาของท้องถิ่นได้ (ส 4.1 ป.4/3) มาตรฐาน ส 4.2
สามารถยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ที่แสดงพัฒนาการของมนุษยชาติในดินแดนแถบนี้
(ส 4.2
ป.4/2)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- ทำงานบรรลุ เป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอน
ด้วยความขยัน อดทนรับผิดชอบและซื่อสัตย์(ง 1.1 ป.4/2)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานอย่างประหยัด
และคุ้มค่า
(ง 1.1 ป.4/4)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงาน
อย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง 1.1 ป.5/2) |
มาตรฐาน พ 2.1
แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพื่อนทั้งชายและหญิงขณะทำกิจกรรมและเรียนรู้อย่างเหมาะสม (พ 2.1 ป.4/2) มาตรฐาน พ 4.1 เข้าใจและสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพได้ (พ 4.1 ป.4/1) |
มาตรฐาน ศ 1.1
- อภิปรายเกี่ยวกับ
อิทธิพลของสีวรรณะอุ่น และสีวรรณะเย็นที่มีต่ออารมณ์ของมนุษย์ (ศ 1.1 ป.4/2)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสี
(ศ 1.1 ป.4/5)
- วาดภาพระบายสี
โดยใช้สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น
ถ่ายทอดความรู้สึกและจินตนาการ
(ศ 1.1 ป.4/7) |
จุดเน้นที่ 3
-
มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1 ป.4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3.2 ป.4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4.1 ป.4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5.1 ป.4/10)
|
สาระ
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
4. ฉันอยู่ไหน
- อะไรคือตัวฉัน - ฉันเชื่ออะไร |
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องที่จะศึกษาได้ (ว 8.1 ป.4/1) - ออกแบบและวางแผนเพื่อสำรวจหรือสืบค้นข้อมูลจากเรื่องที่จะศึกษาได้ (ว 8.1 ป.4/2) - สามารถเลือกอุปกรณ์เพื่อใช้ในการสำรวจหรือสืบค้นเรื่องที่จะศึกษาได้ (ว 8.1 ป.4/3) - สามารถบันทึกข้อมูล นำเสนอผล และสรุปผลได้ (ว 8.1 ป.4/4) - สามารถแสดงความคิดเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ได้ (ว 8.1 ป.4/6) |
มาตรฐาน ส 1.1
- เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างที่ดีในการดำรงชีวิตได้ (ส 1.1 ป.4/3) - ชื่นชมการทำความดีของตนเองและผู้อื่น (ส 1.1 ป.4/5) มาตรฐาน ส 5.1 - สามารถใช้แผนที่ ภาพถ่ายระบุลักษณะสำคัญทางกายภาพของจังหวัดตนเองได้ (ส 5.1 ป.4/1) - สามารถระบุทรัพยากรและสิ่งต่างๆในจังหวัดของตนเองด้วยแผนที่ได้ (ส 5.1 ป.4/2) - สามารถใช้แผนที่อธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีในจังหวัดได้ (ส 5.1 ป.4/3) มาตรฐาน ส 5.2 - อธิบายการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในจังหวัดและผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงนั้นได้ (ส 5.2 ป.4/2) - มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในจังหวัดของตนเอง (ส 5.2 ป.4/3) |
มาตรฐาน ส 4.1
สามารถแยกแยะประเภทหลักฐานที่ใช้ในการศึกษาความเป็นมาของท้องถิ่นได้ (ส 4.1 ป.4/3) มาตรฐาน ส 4.2
สามารถยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ที่แสดงพัฒนาการของมนุษยชาติในดินแดนแถบนี้
(ส 4.2
ป.4/2)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- ทำงานบรรลุ เป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอน
ด้วยความขยัน อดทนรับผิดชอบและซื่อสัตย์(ง 1.1 ป.4/2)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานอย่างประหยัด
และคุ้มค่า
(ง 1.1 ป.4/4)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงาน
อย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง 1.1 ป.5/2) |
มาตรฐาน พ 2.1
แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพื่อนทั้งชายและหญิงขณะทำกิจกรรมและเรียนรู้อย่างเหมาะสม (พ 2.1 ป.4/2) มาตรฐาน พ 4.1 เข้าใจและสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพได้ (พ 4.1 ป.4/1) |
มาตรฐาน ศ 1.1
- อภิปรายเกี่ยวกับ
อิทธิพลของสีวรรณะอุ่น และสีวรรณะเย็นที่มีต่ออารมณ์ของมนุษย์และสิ่งมีชีวิต (ศ 1.1 ป.4/2)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสีโครงสร้างของมนุษย์พืชและสัตว์
(ศ 1.1 ป.4/5)
- วาดภาพระบายสี
โดยใช้สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น
ถ่ายทอดความรู้สึกและจินตนาการ
(ศ 1.1 ป.4/7) |
จุดเน้นที่ 3
-
มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1 ป.4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3.2 ป.4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4.1 ป.4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5.1 ป.4/10)
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
|||||||
สาระ
|
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
5. เราจะไปไหน
- ตัวเรา - ครอบครัวเรา - ชุมชนของเรา - จังหวัดของเรา - ประเทศของเรา - โลกของเรา |
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องที่จะศึกษาได้ (ว 8.1 ป.4/1) - สามารถบันทึกข้อมูล นำเสนอผล และสรุปผลได้ (ว 8.1 ป.4/4) - สามารถแสดงความคิดเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ได้ (ว 8.1 ป.4/6) |
มาตรฐาน ส 1.1
- เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างที่ดีในการดำรงชีวิตได้ (ส 1.1 ป.4/3) - ชื่นชมการทำความดีของตนเองและผู้อื่น (ส 1.1 ป.4/5) |
มาตรฐาน ส 4.2
สามารถยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ที่แสดงพัฒนาการของมนุษยชาติในดินแดนแถบนี้
(ส 4.2
ป.4/2)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- ทำงานบรรลุ เป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอน
ด้วยความขยัน อดทนรับผิดชอบและซื่อสัตย์(ง 1.1 ป.4/2)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานอย่างประหยัด
และคุ้มค่า
(ง 1.1 ป.4/4)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงาน
อย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง 1.1 ป.5/2) |
มาตรฐาน พ 2.1
แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพื่อนทั้งชายและหญิงขณะทำกิจกรรมและเรียนรู้อย่างเหมาะสม (พ 2.1 ป.4/2) มาตรฐาน พ 4.1 เข้าใจและสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพได้ (พ 4.1 ป.4/1) |
มาตรฐาน ศ 1.1
- อภิปรายเกี่ยวกับ
อิทธิพลของสีวรรณะอุ่น และสีวรรณะเย็นที่มีต่ออารมณ์ของมนุษย์ (ศ 1.1 ป.4/2)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสี
(ศ 1.1 ป.4/5)
- วาดภาพระบายสี
โดยใช้สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น
ถ่ายทอดความรู้สึกและจินตนาการ
(ศ 1.1 ป.4/7) |
จุดเน้นที่ 3
-
มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1 ป.4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3.2 ป.4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4.1 ป.4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5.1 ป.4/10)
|
สาระ
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
6. สรุปการเรียนรู้
- วิเคราะห์สิ่งที่อยากเรียนรู้
- สิ่งที่ดีแล้ว
สิ่งที่ควรปรับปรุง
- Mind Mapping หลังเรียนรู้
- นำเสนอการเรียนรู้
|
มาตรฐาน ว 8.1
- ใช้กระบวนการการทางวิทยาศาสตร์
ตั้งคำถามและหาคำตอบเกี่ยวกับน้ำในปัจจุบันและอนาคตผ่านการทำชิ้นงานแผนภาพ
ความคิดและการแสดงแล้วนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจสิ่งที่ตนเองศึกษา
(ว 8.1 ป.4/1)
-
จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบและนำเสนอผลการศึกษาเรียนรู้
แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มรวบรวม
และสรุปความรู้จากสิ่งที่อยากเรียนรู้พร้อมทั้งระบุสิ่งที่ดีแล้วและสิ่งที่
ควรปรับปรุงในการเรียนรู้ได้
(ว 8.1 ป.4/4-6)
-
บันทึกและอธิบายผลการศึกษาค้นคว้า การตรวจสอบ โดยสรุปเป็นMind Mapping หรือคำอธิบาย
แล้วนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ป.4/7-8) |
มาตรฐาน ส 1.1
ชื่นชมและให้กำลังใจเมื่อเพื่อนหรือสมาชิกกระทำสิ่งที่เหมาะสมอย่างจริงใจ
(ส 1.1 ป.4/5)
มาตรฐาน ส 1.2
ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานร่วมกับผู้อื่นตามหน้าที่ของตน
(ส 1.2 ป.4/1) |
มาตรฐาน ส 4.2
- อธิบายผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง
เรื่องน้ำที่มีผลต่อการใช้ชีวิตในชุมชน (ส 4.2 ป. 4/2)
- เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของวัฒนธรรมชุมชนที่เกี่ยวข้องกับน้ำในอดีตและปัจจุบัน
(ส 4.2 ป.4/3) |
มาตรฐาน ง 1.1
ทำงานได้ด้วยตนเอง
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและมีความระมัดระวังรอบคอบในการทำงาน
(ง 1.1 ป. 4/3)
มาตรฐาน ง 2.1
มีความคิดสร้างสรรค์สามารถนำสิ่งที่เรียนรู้ไปถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ง 2.1 ป.4/4) |
มาตรฐาน พ 2.1
-
ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองต่อสมาชิกในกลุ่มและเพื่อนร่วมชั้นในการวางแผนสรุปการเรียนรู้
(พ 2.1 ป. 4/1)
-
ให้เกียรติและบอกความสำคัญของเพื่อนต่อกระบวนการเรียน การทำงาน
รวมทั้งการทำกิจกรรมต่างๆร่วมกันได้
(พ 2.1 ป. 4/2) |
มาตรฐาน ศ 1.1
สามารถสร้างสรรค์ผลงานและออกแบบฉากประกอบการแสดงได้
(ศ 1.1 ป.4/7)
มาตรฐาน ศ 2.1
สามารถร้องเพลงประกอบการแสดงสรุปการเรียนรู้
พร้อมทั้งเคลื่อนไหวท่าทางได้เหมาะสมสอดคล้องกับเพลงที่ร้อง (ศ 2.1 ป.4/5)
มาตรฐาน ศ 3.1
มีมารยาทในการเป็นผู้ชมและผู้แสดงที่เหมาะสม
(ศ 3.1 ป.4/5) |
จุดเน้นที่ 3
-
มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1 ป.4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3.2 ป.4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4.1 ป.4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5.1 ป.4/10)
|
ปฏิทินการเรียนรู้บูรณาการ (Problem Based Learning) PBL หน่วย: “เราคือใคร”
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 (Quarter 1) ปีการศึกษา 2559
เป้าหมายรายสัปดาห์: เข้าใจความต้องการของตนเองสามารถพูดอธิบายพร้อมกับตั้งคำถาม
และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสนใจ และเลือกสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ได้
|
||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||
1
|
โจทย์ : เรื่องที่อยากเรียนรู้
Key Question :
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร/เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนั้น
เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Card and Chart
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมกระโดดขาเดียวจับเวลา
10 วินาทีเพื่อรับรู้ว่าตัวเองมีศักยภาพแค่ไหน
อดทนได้นานเท่าไร
- นักเรียนแลกเปลี่ยนร่วมกันหลังเสร็จกิจกรรม “นักเรียนรู้สึกอย่างไรขณะกระโดดขาเดียว” “ทำไมเราถึงรู้สึกอย่างนั้น” “เมื่อเกิดความรู้สึกเหล่านั้นนักเรียนทำอย่างไร” - ครูอ่านบทความปฏิบัติการแห่งรักให้นักเรียนฟัง แล้วกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนเข้าใจว่าอย่างไร” “นำไปใช้อย่างไร” “ทำอย่างไรให้คนรัก” เพื่อให้นักเรียนเข้าถึงการเสียสละและอดทน - ครูกระตุ้นด้วยคำถามต่อ “นักเรียนจะเป็นผู้รักได้อย่างไร” - นักเรียนคิดใคร่ครวญกับตนเองเพื่อจะเป็นผู้ถูกรักอย่างไรผ่านรูปแบบที่สร้างสรรค์ - นักเรียนนำเสนอแลกเปลี่ยนการเป็นผู้รักของตนเองร่วมกัน - กิจกรรม : ความคิด โดยให้นักเรียนนั่งสมาธิ 1 นาที แล้วกระตุ้นด้วยคำถาม “ในระหว่างที่นั่งมีความคิดเกิดขึ้นไหม” “ความคิดที่เกิดขึ้นมีกี่ครั้ง” “มีความคิดอะไรบ้างที่เกิดขึ้น” “ทำไมความคิดเหล่านั้นถึงเกิดขึ้น” - ครูเปิดคลิปวีดีโอ “เราเปลี่ยน โลกเปลี่ยน” ให้นักเรียนดูแล้วกระตุ้นด้วยคำถาม “ดูแล้วรู้สึกอย่างไร” “เราจะทำอย่างไร” - นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันผ่านเครื่องมือคิด Card and Chart - ครูตั้งคำถามกับนักเรียน “นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร/เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนั้น” - นักเรียนเขียนสิ่งที่อยากเรียนรู้ลงในกระดาษพร้อมเหตุผลแล้วติดบนกระดานตามกลุ่มที่สนใจเหมือนๆกัน - ครูและนักเรียนช่วยกันขมวดสิ่งที่อยากเรียนรู้ร่วมกันอีกครั้งโดยใช้เครื่องมือคิด Blackboard Share - ครูและนักเรียนช่วยกันตั้งชื่อหน่วย PBL ร่วมกัน และเขียนชื่อหน่วยพร้อมตกแต่งให้สวยงามติดหน้าห้อง - นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 1 ผ่านชิ้นงานในรูปแบบของการ์ตูนช่อง |
ภาระงาน
-
แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- เลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้ - ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
ชิ้นงาน
- การเป็นผู้รัก - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 1 |
ความรู้
เข้าใจความต้องการของตนเองสามารถพูดอธิบาย พร้อมกับตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสนใจ และเลือก
สิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ได้ ทักษะ : ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ - รู้จักตนเอง - เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น - เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย |
||
เป้าหมายรายสัปดาห์ :เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้ และสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเองร่วมกับผู้อื่นได้
อย่างมีขั้นตอน และสร้างสรรค์
|
||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||
2
|
โจทย์ : ออกแบบ/วางแผนการเรียนรู้
Key Questions :
-
นักเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย “เราคือใคร”
- นักเรียนอยากเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย “เราคือใคร” - นักเรียนจะออกแบบ/วางแผน การเรียนรู้ตลอด 10 สัปดาห์อย่างไรให้น่าสนใจ
เครื่องมือคิด
- Blackboard Share
- Mind Mapping - Show and Share - Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- หนังสือ/ห้องสมุด
|
-
ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม :นักเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย “เราคือใคร” - ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับหน่วย “เราคือใคร” : นักเรียนจะสรุปสิ่งที่รู้แล้วทั้งหมดของตนเองอย่างไร - นักเรียนเขียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนเป็นรายบุคคลผ่านเครื่องมือคิด (Mind Mapping) - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : นักเรียนอยากเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย “เราคือใคร” - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : นักเรียนจะออกแบบและวางแผนกิจกรรมจากสิ่งที่อยากเรียนรู้อย่างไร - ครูและนักเรียนออกแบบและวางแผนทำปฏิทินการเรียนรู้ 10 สัปดาห์ร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 2
|
ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ช่วยกันเพื่อออกแบบและวางแผนทำปฏิทินการเรียนรู้รายสัปดาห์ร่วมกัน
-
การทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดสัปดาห์
ชิ้นงาน
- สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- ทำปฏิทินการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่
2
|
ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้
และสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเองร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีขั้นตอน
และสร้างสรรค์
ทักษะ :
ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ - รู้จักตนเอง - เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น - เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย |
||
เป้าหมายรายสัปดาห์ : เข้าใจ และสามารถอธิบายลักษณะทางร่างกายของตัวเองที่ถูกถ่ายทอดผ่านทางพันธุกรรมจากคนในครอบครัวและเครือญาติ
|
||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||
3
|
โจทย์ : กว่าจะมาเป็นฉัน
(ครอบครัวของฉัน)
Key Question:
- เราเกิดขึ้นมาไร - เราเหมือนใครบางในครอบครัว/เหมือนอย่างไร เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- ครอบครัว - อินเตอร์เน็ต |
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
“เราเกิดขึ้นมาได้อย่างไร” “เราเหมือนใครบางในครอบครัว/เหมือนอย่างไร” - นักเรียนทำแผนภาพครอบครัวของตนเองพร้อมบอกลายละเอียดสิ่งที่ตนเองเหมือนใครและเหมือนอย่างไรเช่น มีผมตรงเส้นเล็กเหมือนแม่ / มีผิวสีแทนเหมือนตา - นักเรียนนำเสนอแผนภาพครอบครัวร่วมกัน - นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับยีนเด่นยีนด้อย แล้วบอกได้ว่าลักษณะที่เหมือนกับคนในครอบครัวนั้นเป็นลักษณะของยีนเด่นหรือยีนด้อย - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนมีกรุ๊ปเลือดอะไร” “ทำไมเราจึงมีกรุ๊ปเลือดนี้” “เราสามารถแบ่งปันเลือดให้กรุ๊ปเลือดอะไรได้บ้าง” - นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับกรุ๊ปเลือดของพ่อแม่ลูก โอกาสที่จะเกิดกรุ๊ปเลือดต่างๆ แล้วสรุปความเข้าใจในรูปแบบที่เข้าใจง่าย - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 3 |
ภาระงาน
- ทำแผนภาพครอบครอบของตนเองและอธิบายลักษณะร่างกายของตนเองที่เหมือนกับใครเป็นยีนเด่นหรือยีนด้อย
- ตรวจสอบกรุ๊ปเลือด ชิ้นงาน - แผนภาพครอบครัว - สรุปกรุ๊ปเลือด - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 3 |
ความรู้
เข้าใจ
และสามารถอธิบายลักษณะทางร่างกายของตัวเองที่ถูกถ่ายทอดผ่านทางพันธุกรรมจากคนในครอบครัวและเครือญาติทักษะ :
ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ - รู้จักตนเอง - เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น - เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย |
||
เป้าหมายรายสัปดาห์ : เข้าใจและสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับสิ่งแวดล้อม
รวมถึงสามารถเป็นผู้รักสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเราได้
|
||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||
4
|
โจทย์ : กว่าจะมาเป็นฉัน(สภาพแวดล้อม)
Key Questions: - สิ่งแวดล้อมเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับนักเรียนอย่างไร? - นักเรียนจะทำอะไรเพื่อสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเราได้บ้าง? เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- บริเวณภายในโรงเรียน |
-
ครูพานักเรียนเดินสำรวจบริเวณภายในโรงเรียน แล้วตั้งคำถามระหว่างที่เดิน
“นักเรียนเห็นอะไรบ้าง เกี่ยวข้องกับตัวเราอย่างไร”
- เมื่อกลับมาถึงห้องครูกระตุ้นด้วยคำถามอีกครั้ง “สิ่งแวดล้อมเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับนักเรียนอย่างไร” - นักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน - ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 5 เพื่อพูดร่วมกันในการจัดหมวดหมู่ของสิ่งแวดล้อม เพื่อระดมสมองช่วยกันคิดว่าสิ่งแวดล้อมต่างๆมีความสัมพันธ์อย่างไรกับตัวเราจากนั้นแต่ละกลุ่มจะสรุปข้อมูลที่ได้ช่วยกันคิดถ่ายทอดผ่านชิ้นงาน Web เชื่อมโยงตัวเรากับสิ่งแวดล้อม - ครูให้โจทย์ใหม่นักเรียนจะทำอะไรเพื่อสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเราได้บ้าง / ทำอย่างไร / เมื่อไร / นานเท่าไร / แล้วจะเกิดผลอะไรตามมาจากสิ่งที่เราทำ / จะขยายผลอย่างไรสู่ผู้อื่น - ครูให้นักเรียนแบ่งเป็น 2 กลุ่มออกแบบและวางแผน ร่วมกัน จากนั้นมานำเสนอร่วมกันเป็นวงใหญ่ - นักเรียนลงมือตามแผนที่ทำไว้ทั้งสองกลุ่มแล้วกลับมา AAR ร่วมกันอีกครั้งหลังทำเสร็จ ผลเป็นอย่างไร แล้วจะทำอย่างไรต่อไป - นักเรียนสรุปกระบวนการที่ทำเพื่อสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเราผ่านชิ้นงานตามถนัด - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 4 |
ภาระงาน
- เดินสำรวจบริเวณภายในโรงเรียน - ระดมสมองช่วยกันคิดว่าสิ่งแวดล้อมต่างๆมีความสัมพันธ์อย่างไรกับตัวเรา - ออกแบบการเป็นผู้รักสิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา ชิ้นงาน - Web เชื่อมโยงตัวเรากับสิ่งแวดล้อม - สรุปกระบวนการที่ทำเพื่อสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเรา - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 4 |
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับสิ่งแวดล้อม
รวมถึงสามารถเป็นผู้รักสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเราได้
ทักษะ : ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ - รู้จักตนเอง - เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น - เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย |
||
เป้าหมายรายสัปดาห์ :เข้าใจและสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของความเชื่อ
และศาสนาที่ทำให้เป็นตัวเรา พร้อมถ่ายทอดในรูปแบบของละคร
|
||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||
5
|
โจทย์ : กว่าจะมาเป็นฉัน
(ความเชื่อ/ศาสนา) Key Question: ความเชื่อและศาสนามีความสัมพันธ์อย่างไรจึงทำให้เป็นตัวเรา? เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- แผนที่ประเทศไทย - อินเตอร์เน็ต - ห้องสมุด |
-
ครูเชิญวิทยากรเป็นผู้ปกครองอาสามาถ่ายความเชื่อภายในชุมชนบ้านหนองโดน
ตามที่อยู่ของนักเรียน
- นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความเชื่อเกี่ยวกับชุมชนบ้านหนองโดนกับตัวเรา - ครูเชิญวิทยากรเป็นผู้ปกครองอาสามาถ่ายความเชื่อภายในชุมชนบ้านยาง ตามที่อยู่ของนักเรียน - นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความเชื่อเกี่ยวกับชุมชนบ้านยางกับตัวเรา - ครูเชิญวิทยากรเป็นผู้ปกครองอาสามาถ่ายความเชื่อภายในชุมชนบ้านโคกกลาง ตามที่อยู่ของนักเรียน - นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความเชื่อเกี่ยวกับชุมชนบ้านโคกกลางกับตัวเรา - นักเรียนสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับความเชื่อทั้ง 3 ชุมชนพร้อมอธิบายความสัมพันธ์ที่เชื่อมโยงกับตัวเรา - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “ศาสนาที่เรานับถือมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับตัวเราอย่างไร” - ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 3 คน เพื่อช่วยกันคิดความสัมพันธ์ของศาสนากับตัวเรา และมานำเสนอแลกเปลี่ยนร่วมกันในวงใหญ่อีกครั้ง และช่วยกันขมวดความสัมพันธ์ช่วยกัน - ครูให้นักเรียนจับสลากแบ่งเป็น 4 กลุ่มเพื่อสรุป ความสัมพันธ์ของความเชื่อ และศาสนาที่ทำให้เป็นตัวเรา นำมาถ่ายทอดในรูปแบบของละคร - นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 5 |
ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของความเชื่อ และศาสนาที่ทำให้เป็นตัวเรา - ละครถ่ายทอดความเข้าใจความสัมพันธ์ของความเชื่อ และศาสนาที่ทำให้เป็นตัวเรา ชิ้นงาน - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 5 |
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของความเชื่อ
และศาสนาที่ทำให้เป็นตัวเรา พร้อมถ่ายทอดในรูปแบบของละคร
ทักษะ : ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ - รู้จักตนเอง - เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น - เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย |
||
เป้าหมายรายสัปดาห์ :เข้าใจและเห็นความสัมพันธ์ของวิถีชีวิตที่ส่งผลต่อตัวเรา
ตลอดจนสามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้
|
||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||
6
|
โจทย์ : กว่าจะมาเป็นเรา
(วิถีชีวิต) Key Question: วิถีชีวิตทำให้เป็นฉันอย่างไร? เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- อินเตอร์เน็ต - ห้องสมุด |
- ครูเปิดคลิป วิถีชีวิต
ครูกระตุ้นด้วยคำถามจากเรื่องที่ได้ดู “นักเรียนอะไรบ้าง / รู้สึกอย่างไร / เหมือนหรือต่างจากตัวเราอย่างไร ”แล้ว “วิถีชีวิตทำให้เป็นฉันอย่างไร” - นักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน - นักเรียนใคร่ครวญวิถีชีวิตที่ทำให้เป็นฉันอย่างไรกับตัวเอง ฉันชอบพูดเสียงดังเพราะวิถีแบบไหน / ฉันอ้วนเพราะวิถีการกินแบบไหน / ฉันแข็งแรงเพราะวิถีชีวิตเป็นแบบไหน - ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่มเพื่อถ่ายทอดวิถีชีวิตที่เป็นฉันในรูปแบบของบทเพลง - นักเรียนนำเสนอบทเพลงร่วมกัน - ครูและนักเรียนสะท้อนบทเพลงร่วมกัน สิ่งที่ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อนำไปปรับแก้บทเพลงของตนเองให้ดีขึ้นและสามารถถ่ายทอดสู่ผู้อื่นต่อไป |
ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับวิถีชีวิตทำให้เป็นฉัน - ใคร่ครวญวิถีชีวิตที่ทำให้เป็นฉันอย่างไรกับตัวเอง ชิ้นงาน - บทเพลงวิถีชีวิตทำให้เป็นตัวฉัน - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 6 |
ความรู้
เข้าใจและเห็นความสัมพันธ์ของวิถีชีวิตที่ส่งผลต่อตัวเรา
ตลอดจนสามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ : ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ - รู้จักตนเอง - เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น - เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย |
||
เป้าหมายรายสัปดาห์ :เข้าใจตัวเอง
และสามารถ่ายทอดเรื่องราวที่เป็นตัวตนให้กับผู้อื่นเข้าใจผ่านนิทานได้
|
||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||
7
|
โจทย์ : ฉันอยู่ไหน
Key Question: อะไรที่บ่งบอกว่าเป็นฉัน? เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- อินเตอร์เน็ต - ห้องสมุด |
- ครูพานักเรียนเล่นเกมปิดตาท้ายเพื่อนในห้อง
เพื่อเชื่อมโยงสู่ตัวฉัน แล้วกระตุ้นด้วยคำถาม “อะไรที่บ่งบอกว่าเป็นฉัน” ขนาด
รูปร่าง ทรงผม เสื้อผ้า
นอกจากนี้ยังมีอะไรอีกบ้างที่บ่งบอกว่าเป็นฉันความชอบ สี ที่อยู่ เอกลักษณ์ ฯลฯ - นักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนสิ่งที่บ่งบอกว่าเป็นฉัน แล้วสรุปตัวฉันผ่าน นิทานตัวฉัน - นักเรียนนำเสนอนิทานตัวฉันร่วมกัน - ครูและนักเรียนร่วมกันสะท้อนสิ่งที่ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนา - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 7 |
ภาระงาน
- เล่นเกมปิดตาทายเพื่อนในห้อง และแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากเกม - สร้างนิทานตัวฉันที่บ่งบอกความเป็นตัวฉัน ชิ้นงาน - นิทานตัวฉัน - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 7 |
ความรู้
เข้าใจตัวเอง
และสามารถ่ายทอดเรื่องราวที่เป็นตัวตนให้กับผู้อื่นเข้าใจผ่านนิทานได้
ทักษะ : ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ - รู้จักตนเอง - เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น - เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย |
||
เป้าหมายรายสัปดาห์ : เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง
ตลอดจนสามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีเป้าหมาย
|
||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||
8
|
โจทย์ :
แล้วฉันจะไปไหน
Key Questions: - ตัวเองทำเพื่อคนอื่นอย่างไร? - ในฐานะนักเรียนจะทำอะไรเพื่อใครบ้าง? - ในฐานะลูกจะทำอะไรเพื่อครอบครัวบ้าง? - ในฐานะประชากรจะทำอะไรเพื่อสังคมบ้าง? - ในฐานะมนุษย์จะทำอะไรเพื่อโลกของเราบ้าง? เครื่องมือคิด
Round Robin
Brainstorms
Show and Share
Black Board Share
Place
Mat
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
|
-
ครูกระตุ้นด้วยคำถามเพื่อให้นักเรียนตอบกับตัวเองดังนี้
“เราเป็นใครในปัจจุบัน” “เราเมื่อวานเป็นอย่างไร” “เราเมื่อสัปดาห์ที่แล้วเป็นอย่างไร” “เราเมื่อเดือนที่แล้วเป็นอย่างไร” “เราเมื่อปีที่แล้วเป็นอย่างไร” “เราเมื่อ 5 ปีก่อนเป็นอย่างไร” “เราเมื่อ 10 ปีก่อนเป็นอย่างไร” “เราอีก 5 ปีข้างหน้าจะเป็นอย่างไร” “เราอีก 7 ปีข้างหน้าจะเป็นอย่างไร” “เมื่อเราอายุ 60 ปีจะเป็นอย่างไร” - นักเรียนอยู่กับตัวเองในมุมอิสระและใคร่ครวญกับคำถามทั้ง 10 ข้อของตนเองแล้วเรียบเรียงคำตอบผ่านงานเขียนและวาดภาพประกอบ ในรูปแบบของ Timeline ชีวิต - ครูให้โจทย์การเป็นผู้รักกับนักเรียน “ตัวเองทำเพื่อคนอื่นอย่างไร” “ในฐานะนักเรียนจะทำอะไรเพื่อใครบ้าง” “ในฐานะลูกจะทำอะไรเพื่อครอบครัวบ้าง” “ในฐานะประชากรจะทำอะไรเพื่อสังคมบ้าง” “ในฐานะมนุษย์จะทำอะไรเพื่อโลกของเราบ้าง” - นักเรียนวางแผนรูปแบบชีวิตของตนเองตามโจทย์ที่ครูให้ในรูปแบบของอินโฟกราฟฟิก - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 8 |
ภาระงาน
นักเรียนใคร่ครวญกับตนเองเพื่อตอบคำถาม Timeline ชีวิต
และวางแผนชีวิตในรูปแบบของผู้รัก
ชิ้นงาน
- Timeline ชีวิต
- อินโฟกราฟฟิกชีวิตผู้รัก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 8 |
ความรู้ :
เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง
ตลอดจนสามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีเป้าหมาย
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ
หน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- ส่งงานตรงเวลา
- ทำงานจนสำเร็จด้วยความตั้งใจ
|
||
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้
เป็นแรงบันดาลใจ สะท้อนแง่มุมที่หลากหลาย
นำสิ่งที่เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และนำไปปรับใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
|
||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||
9
|
โจทย์ :
สรุปองค์ความรู้หลังเรียน คำถาม - นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้อย่างไร - นักเรียนจะจัดและตกแต่งบรรยากาศห้องเรียนอย่างไร เครื่องมือคิด - Show and Share ชิ้นงาน - Wall Thinking ชิ้นงาน สื่อ / แหล่งเรียนรู้ บรรยากาศนานห้องเรียน |
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม :
นักเรียนจะจัดและตกแต่งบรรยากาศห้องเรียนอย่างไร/นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้อย่างไร
- ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการจัดเตรียมสถานที่ - จัดบรรยากาศห้องเรียน เพื่อเตรียมเปิดห้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - เผยแพร่องค์ความรู้ ในรูปแบบของนิทรรศการ - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้อย่างไร - ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการเผยแพร่องค์ความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ - นักเรียนเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ - ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านมาในสัปดาห์นี้ร่วมกัน : นักเรียนได้เรียนรู้อะไรมาบ้างในสัปดาห์นี้ - ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนสิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านมาตลอดทั้งสัปดาห์ - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 9 |
ภาระงาน
- นำเสนอความเข้าใจหลังเรียน - จัดนิทรรศการสรุปและเผยแพร่องค์ความรู้
ชิ้นงาน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ 9 |
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจและสามารถ
สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้
เป็นแรงบันดาลใจ สะท้อนแง่มุม
ที่หลากหลาย
นำสิ่งที่เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
และนำไปปรับใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ :
ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ - รู้จักตนเอง - เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น - เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย |